Last updated: 28 ก.ย. 2566 | 824 จำนวนผู้เข้าชม |
ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล
ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไป แล้วแต่บุคคล
แนะนำเทคนิคดูแล ก้อนซีสต์จากท่อต่อมไขมัน Steatocystoma Multiplex (SM) ด้วย เข็มพลังงาน
คลื่นวิทยุ Insulated Radiofrequency RF Microneedle for Steatocystoma Multiplex Treatment
https://youtu.be/HJGsNVBxCB4?si=qyyYlcfk_mgC_NTH
Steatocystoma Multiplex (SM) เป็นซีสต์ที่เกิดขึ้นที่ท่อของต่อมไขมัน (Sebaceous Duct) ผนังของซีสต์ชนิดนี้มีลักษณะคล้ายกับซีสต์ชนิด Epidermal Cyst
https://bit.ly/3kmpLLa
***แต่สารที่บรรจุภายในซีสต์ไม่ใช่ Keratin ***แต่เป็นไขมันที่ผลิตจากต่อมไขมันครับ ดังนั้นสารที่อยู่ข้างในจะมีลักษณะสีเหลืองและมีไขมันสีเหลืองปนครับ
ซีสต์ชนิดนี้มักจะพบในวัยรุ่นและผู้ใหญ่ทั้งหญิงและชาย มีลักษณะเป็นตุ่มใต้ผิวหนังขนาดแตกต่างกันแต่มักไม่เกิน 5 ซม.
ตัวอย่างแนวทางการรักษา
•เทคนิคหนึ่งที่หมอใช้คือเทคนิคดูแลก้อนซีสต์เกิดขึ้นที่ท่อของต่อมไขมัน ด้วย เข็มพลังงานคลื่นวิทยุ Insulated Radiofrequency RF Microneedle for Steatocystoma Multiplex Treatment ซึ่งเหมาะกับก้อนที่มีขนาดไม่ใหญ่มากโดยอาจจะต้องดูแลหลายครั้งด้วยนะครับโดยซีสต์จะค่อยๆมีขนาดเล็กลง ซึ่งมีข้อดีคือลดโอกาสการเกิดแผลเป็นครับ
•Surgical excision การผ่าตัดออก***แต่ควรพิจารณาผ่าตัดเอาซีสต์ออกในกรณีที่ซีสต์นั้นมีการอักเสบติดเชื้อบ่อยๆ หรือมีโอกาสที่จะเกิดการอักเสบติดเชื้อ จากการที่ซีสต์นั้นอยู่ในตำแหน่งที่ได้รับการเสียดสีบ่อยๆ***
•การใช้เลเซอร์ Carbon Dioxide Laser สำหรับรักษาซีสต์ขนาดเล็กสำหรับซีสต์ที่มีขนาดเล็กและอยู่ตื้น เช่น Milium อาจให้การรักษาด้วยการเจาะและใช้เครื่องมือสำหรับกดสิว กดเอาสารที่บรรจุอยู่ใรซีสต์ออก
•การใช้การใช้เลเซอร์หรือใบมีดขนาดเล็กเปิด cyst และนำผนังซิสต์ cyst wall ออก เเป็นวิธีการที่ได้ผลแต่ต้องใช้เวลาและเทคนิครวมถึงมีโอกาสเกิดแผลเป็นเล็กๆตามมาได้ fine incision followed by cyst wall extraction with forceps, vein hooks, or curette
•Needle aspiration การเจาะดูดสารที่อยู่ในซิสต์
ส่วนการรักษา ซีสต์ชนิดอื่นก็ทำได้โดยการผ่าตัดเอาก้อนซีสต์ออกส่วน Steatocystoma นั้น เนื่องจากสารที่อยู่ในซีสต์เป็นน้ำมัน จึงอาจรักษาได้ด้วยการใช้เข็มเจาะดูดเอาน้ำมันที่บรรจุอยู่ในซีสต์ และลอกเอาผนังของซีสต์ออก https://youtu.be/fsW_8e5yqeI?si=K5q3dhAwQUIv594v
•ในกรณีที่ซีสต์มีการอักเสบติดเชื้อ ต้องรักษาด้วยยาปฏิชีวนะร่วมกับการผ่าซีสต์เพื่อระบายหนองออก สำหรับ
•แต่อย่างไรก็ตามการรักษาไม่ได้ป้องกันการเกิดใหม่และมีโอกาสเกิดแผลเป็นตามมาดังนั้นจึงต้องพิจารณาปรึกษาแพทย์เพื่อวางแผนการดูแลรักษาครับ
การรักษาด้วยการใช้ยา
- oral isotretinoin ใช้รักษากรณีก้อนมีการอักเสบมาก ช่วยให้ก้อนเล็กลงได้ แต่ผลการรักษามักอยู่ไม่นานและมักเป็นซ้ำหลังหยุดยา
- การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ เช่น oral tetracycline, topical clindamycin, or benzoyl peroxide wash (ie, antibiotics with anti- inflammatory properties) มีประโยชน์ในการรักษาก้อนที่มีการอักเสบ
ผลการรักษาขึ้นอยู่กับเทคนิคการรักษาและการตอบสนองของแต่ละบุคคลด้วยนะครับ
ใช้เป็นตัวอย่างผลจากการเข้ารับการรักษาพยาบาลสำหรับผู้ป่วย*
พบได้บนผิวหนังทุกส่วนของร่างกาย แต่พบบ่อยบริเวณกลางหน้าอก ต้นแขนและต้นขา
ถ้าซีสต์ประเภทนี้อยู่ตื้นจะมองเห็นเป็นตุ่มสีเหลืองๆ แต่ถ้าซีสต์อยู่ลึกจะเห็นเป็นตุ่มสีเดียวกับผิวหนัง
•สาเหตุเกิดจาก mutations in the keratin 17 gene
***ลักษณะสำคัญของซีสต์ประเภทนี้ก็คือ ถ้าใช้เข็มเจาะซีสต์จะมีน้ำมันสีเหลืองคล้ายเนยเหลวๆ ไหลออกมา ซีสต์ประเภทนี้มักจะเกิดขึ้นพร้อมๆกันหลายๆตุ่ม
การรักษา
เนื่องจากซีสต์เป็นเนื้องอกที่มีโอกาสกลายเป็นมะเร็งได้น้อย จึงไม่มีความจำเป็นต้องผ่าตัดออก
ข้อพิจารณาในการรักษา
-การรักษามีโอกาสทำให้เกิดรอยแผลเป็นได้
-การรักษาไม่ได้ปัองกันการเกิดก้อนใหม่
-ควรพิจารณาผ่าตัดหรือใช้เลเซอร์เอาซีสต์ออกในกรณีที่ซีสต์นั้นมีการอักเสบติดเชื้อบ่อยๆ หรือมีโอกาสที่จะเกิดการอักเสบติดเชื้อ จากการที่ซีสต์นั้นอยู่ในตำแหน่งที่ได้รับการเสียดสีบ่อยๆ***
Steatocystoma multiplex (SM) is a skin disorder characterized by the development of multiple noncancerous (benign) cysts known as steatocystomas. These growths begin in the skin's sebaceous glands, which normally produce an oily substance called sebum that lubricates the skin and hair. Steatocystomas are filled with sebum.
In affected individuals, steatocystomas typically first appear during adolescence and are found most often on the torso, neck, upper arms, and upper legs. These cysts are usually the only sign of the condition. However, some affected individuals also have mild abnormalities involving the teeth or the fingernails and toenails.
•Carbon dioxide laser: Carbon dioxide laser has recently been shown to successfully treat multiple lesions in a single session with good cosmetic outcomes. However, this procedure might not be suited for larger cysts and is not easily accessible to all patients. This laser method is comparable to excising the lesion, as the wavelength of the laser ablates skin tissue.
•Modified needle aspiration: Needle aspiration with gentle extirpation of cystic contents has proven successful, with excellent cosmetic outcomes. Despite good results, this treatment requires a skilled operator and does not work well on very large (> 15 mm in diameter) or small (< 3 mm in diameter) cysts. Recurrence rates are extremely high for this treatment method.
Modified surgical techniques: Surgical techniques, including fine incision followed by cyst wall extraction with forceps, vein hooks, or curette, show excellent cosmetic results but are time-consuming and invasive.
•Cryotherapy: Cryotherapy allows for the treatment of multiple lesions in a single session; however, it is greatly limited owing to the cosmetic disfigurement it causes and its extremely low efficacy.
•Medical management: Medical management with oral isotretinoin is the preferred treatment for SMS and it provides great reduction in inflammation. However, results are often not seen for months and recurrence following discontinuation has been reported. Mixed variants of both SM and SMS might require combination therapy. Isotretinoin has no effect on noninflamed lesions. A short course (2 to 4 weeks) of oral tetracycline, topical clindamycin, or benzoyl peroxide wash (ie, antibiotics with anti-inflammatory properties) might be considered for management of noninfectious inflammatory lesions.
References อ้างอิง
Lin KP, Chang ME, Ho WT. Treatment of steatocystoma multiplex on axillae using keyhole approach technique. J Cosmet Laser Ther. 2019;21(4):1. 6.
Georgakopoulos JR et al. Numerous asymptomatic dermal cysts: Diagnosis and treatment of steatocystoma multiplex. Can Fam Physician. 2018 Dec;64(12):892-899.
Gordon Spratt EA et al. Steatocystoma. Dermatol Online J. 2013 Dec 16;19(12):20721. PMID: 24365012.
Cr:หมอรุจชวนคุย
,steatocy stoma multiplex ,steatocy stomare moval ,steatocy stoma ,cyst ,ซีสต์ ,รักษาซีสต์ ,ซีสต์ไขมันผิวหนัง #ซีสต์ไขมันใต้ผิวหนัง ,Insulated Needle RF ,รักษาซีสต์ผิวหนัง ,เลเซอร์รักษาซีสต์ ,dr.suparuj ,demed clinic #Rujreview
,หมอรุจชวนคุย
https://vt.tiktok.com/ZSNek9WRr/
https://youtu.be/HJGsNVBxCB4?si=qyyYlcfk_mgC_NTH
https://bit.ly/3kmpLLa
https://youtu.be/fsW_8e5yqeI
https://bit.ly/3HxRvGX
https://www.blockdit.com/posts/602a7adabb1976138036272f
https://youtu.be/NoFVHjOvak0
https://youtu.be/x-sfGxe_EIE
https://www.blockdit.com/posts/614579ddb4d7ab0c69332c13
https://www.facebook.com/454651174702057/posts/1867625013404659/
...
...
ปรึกษาคุณหมอหรือสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
Tel : 063-959-4392 / 063-896-2514
Line: http://line.me/ti/p/@Demedclinic
Line: @Demedclinic
Wechat/Whatsapp: Demedclinic
IG: https://www.instagram.com/drsuparuj
www.facebook.com/drsuparuj
Youtube: https://bit.ly/3p20YLE
Blockdit: https://bit.ly/3d8vYr1
https://vt.tiktok.com/ZSJ141Mdf/
https://mobile.twitter.com/drruj1
www.demedclinic.com / www.demedhaircenter.com
4 ส.ค. 2567