FACE PROGRAM

 Air dissector เป็นการดูแลหลุมสิว ด้วยหลักการการปล่อยแรงดันอากาศไปที่ใต้ผิวหนัง ผ่านเข็มปลายแหลมเพื่อตัดพังผืดที่เกาะผิวที่เป็นหลุมสิวออก เพื่อกระตุ้นการซ่อมแซมของผิวใหม่ ทำให้ผิวตื้นขึ้น

Picosecond Laser คืออะไร?  Picosecond Laser เป็นเทคโนโลยีเลเซอร์ใหม่ล่าสุด ที่พัฒนาต่อมาจาก Q-Switched Laser 

เหนียง ไขมันใต้คาง Submental Fat เกิดจาก 2 สาเหตุหลักคือ

Update เทคนิค&ผลการรักษาแผลเป็นหลุมสิว Acne Scar Treatment Techniques & Results

ผู้ที่มีปากดำ คือ ผู้ที่มีริมฝีปากสีเข้มหรือคล้ำกว่าคนทั่วไป อาจมีสาเหตุมาจากกรรมพันธุ์ หรือการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การสูบบุหรี่ การสัมผัสแสงแดด หรือการใช้ลิปสติก อาการปากดำอาจมีวิธีดูแลให้รอยคล้ำจางลง และช่วยให้ริมฝีปากกลับมาเนียนนุ่มสวยเป็นปกติอีกครั้งได้ด้วยตนเอง ซึ่งส่วนใหญ่อาจไม่จำเป็นต้องพึ่งการรักษาใด ๆ

กลไกลการทำงานของ Tixel จะอาศัยความร้อนเพื่อทำให้หนังกำพร้าชั้นนอกสุดเกิดรูขนาดเล็กซึ่งไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า

โบท็อก คือ ชื่อทางการค้าของ โบทูลินั่ม ท็อกซิน เอ ( Botulinum toxin type A) ซึ่งเป็นสารสกัดจากแบคทีเรียที่มีชื่อว่า คลอสตริเดียม โบทูลินัม (Clostridium Botulinum) โบท็อกถูกนำมาใช้ในวงการเสริมความงาม เมื่อฉีดไปแล้วจะออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท (Neurotoxin) มีผลทำให้มัดกล้ามเนื้อทำงานได้ลดลงชั่วคราวและช่วยลดริ้วรอยได้ครับ

หลายๆท่านจะมีความกังวลเกี่ยวกับการรักษาหลุมสิวว่าจะเจ็บมากไหมวันนี้หมอมีคำตอบมาฝากกันครับ

เทคนิคการดูแลแผลเป็นนูนคีลอยด์จาก ไฟไหม้น้ำร้อนลวก โดยการใช้เลเซอร์ โดยที่มีใช้หลักๆเช่น

A: ขึ้นอยู่กับความรุนแรง + ชนิดของหลุมสิวครับ ถ้าหลุมสิวเป็นรุนแรง การใช้พลังงานสูงอาจจะมีเลือดออก Pin point bleeding

Papular Acne Scar หรือ Papular fibrotic scar เป็นลักษณะแผลเป็นจากสิวอีกรูปแบบหนึ่งที่พบได้บ่อย มักพบร่วมกับแผลเป็นหลุมสิว Atrophic scar และแผลเป็นนูนคีลอยด์ Keloidal acne scar

:เทคนิครักษาสิวและหลุมสิวควบคู่กัน เพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ บางครั้งมีปัญหาหลุมสิวรุนแรง แต่ก็ยังมีสิวขึ้นอยู่หมอขอแนะนำเป็น 2 ลักษณะครับ

รอยดำหลังการรักษาหลุมสิวด้วยการแต้มกรด TCA ส่วนมากเกิดจากกระบวนการรอยดำหลังการอักเสบครับ Post Inflmmatory Hyperpigmentation (PIH)

แนะนำเทคนิคดูแลปัญหาผิว ฝ้า จุดด่างดำ: Rejuran Tone Up Booster รีจูรันโทนอัฟบูสเตอร์ :Rejuran Tone-Up Booster ด้วยนวัตกรรม c-PDRN + Hyaluronic Acid +Glutathione

เทคนิคการดูแลหลุมสิวแบบจิกลึก Ice Pick Scar หรือหลุมสิวลึกขอบชัด Boxcar Scar ที่เป็นลึกด้วยการใช้เลเซอร์พิโค่ Picosecond Laserครับ

Discovery PICO คือเครื่องที่สามารถปล่อยพลังงานได้เร็วและแรง (shortest pulse duration and highest peak power)

ปานดำโอตะ (Nevus of Ota) เป็นปานสีน้ำเงินหรือน้ำตาลเข้ม เกิดจากเซลล์สร้างเม็ดสีที่ผิดปกติในชั้นใต้ผิวหนัง (dermal melanocytes)

ริ้วรอย Wrinkle มีกี่ชนิด & เทคนิคในการดูแลริ้วรอย ? ชนิดของริ้วรอย

เทคนิค Deep Focused Ablative Laser (DFA) เป็นการใช้ เลเซอร์หรือพลาสมา ช่วยดูแลพังผืดหลุมสิวหนาขอบชัด โดยเฉพาะ boxcar, linear scar และหลุมสิวที่มีพังผืดหนามากครับ

แผลเป็นยุบตัวจากอีสุกอีใส (Atrophic chicken pox scars หรือ post varicella scars) เกิดจากการเป็นอิสุกอิใสแล้วมีโอกาสเกิดแผลเป็นบุ๋มยุบตัว atrophic scar เป็นตามมาได้ถึง 18%ครับ และที่สำคัญคือมีโอกาสเป็นแผลเป็นที่ใบหน้าได้ถึง 40%* ซึ่งแน่นอนทำให้หลายๆคนกังวล

การรักษาหลุมสิวด้วยเลเซอร์มีประสิทธิภาพเห็นผลตั้งแต่ 3-6 เดือน หลังเลเซอร์ครั้งสุดท้ายและผลระยะยาวตั้งแต่ 1-5 ปี แต่เมื่อเวลาผ่านไปผลการรักษามักจะลดลงเนื่องจากอายุที่มากขึ้นทำให้เกิดคอลลาเจนลดลง (Aging Process = ความชรา)ครับ

•สกินแคร์อาจจะเริ่มมีบทบาทน้อยลงโดยจะช่วย ให้ผิวไม่เกิดริ้วรอยเพิ่มขึ้นได้ในระดับนึง แต่อาจจะไม่สามารถช่วยลดริ้วรอยที่เกิดขึ้นแล้วได้ครับ (do not reverese aging) โดยอาจใช้ Retinol, Niacinamide, Ascorbic Acid

การดูแลรักษาหลุมสิวด้วยเลเซอร์ การตัดพังผืด Subcision การฉีดหรือการใช้วิธีอื่นๆ แนะนำ ดูผลการรักษา อย่างน้อย 1 เดือน ดีที่สุด คือ3-6 เดือน หลังการรักษาครั้งสุดท้าย

Fractional Pico Laser with MLA Micro Lens Array เลนส์พิเศษกระตุ้นการสร้างคอลลาเจนรักษาหลุมสิว + Full Beam Discovery Pico Laser พลังงานเลเซอร์พิเศษช่วยลดรอยดำ รอยแดงสิว รูขุมขนกว้าง

•Dynamic line มีร่องเวลาขยับ เกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อCorrugator > Botox การฉีดโบท็อกซ์ช่วยลดการขยับของกล้ามเนื้อจึงช่วยได้ครับ

•Discovery Picosecond Laser แต่ละ Mode แตกต่างกันอย่างไร ? ใช้ดูแลปัญหาไหน ชนิดไหนดีกว่ากัน: Full Beam/ Fractional MLA ?/ High Fluence/ Low Fluence

 
 
งานวิจัยแพทย์ไทยคว้ารางวัลระดับเอเชีย
ผศ.นพ.ศุภะรุจ เลื่องอรุณ
งานวิจัยแพทย์ไทยคว้ารางวัลระดับเอเชีย อ.นพ.ศุภะรุจ เลื่องอรุณ
 
 
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้